ข่าว:

  • 29 มีนาคม 2567 เวลา 12:43:26 น.

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น

ผู้เขียน หัวข้อ: น้ำหนักกับสดึง  (อ่าน 2188 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 ผู้มาเยือน กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ suraida

  • สามัญชน
  • *
  • กระทู้: 54
  • สมาชิก No: 417
  • รับคำขอบคุณ: 106 ครั้ง
  • มีส่วนร่วม:
    0%
  • พลังใจ: 6
  • เพศ: ชาย
  • มิตรภาพและการแบ่งปัน
  • โปรแกรมตีลาย: wilcom
  • จักรปัก: happy
น้ำหนักกับสดึง
« เมื่อ: 25 ตุลาคม 2560 เวลา 12:10:20 น. »
พอทราบไหมครับว่าจักรปักรองรับน้ำหนักของวัสดุที่ปัก กับสดึง ได้เต็มที่เท่าไหร่โดยไม่ทำให้เกิดความเสียหายกับจักร
 
สมาชิกดังต่อไปนี้ให้คำขอบคุณที่โพสของคุณ:

kochai, seree_c, nokyong1921

ออฟไลน์ nokyong1921

  • ความพยายามอย่างเดียวไม่พอ ต้องฝึกสังเกตุและปรับเปลี่ยนสิ่งที่ดีให้ดียิ่งขึ้น
  • สามัญชน
  • *
  • กระทู้: 367
  • สมาชิก No: 337
  • รับคำขอบคุณ: 868 ครั้ง
  • มีส่วนร่วม:
    0%
  • พลังใจ: 43
  • เพศ: ชาย
  • โปรแกรมตีลาย: Wilcom
  • จักรปัก: Barudan BE SRH
Re: น้ำหนักกับสดึง
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: 27 ตุลาคม 2560 เวลา 08:40:25 น. »
แรงเหวี่ยงของเฟรมจักรปักสามารถรับน้ำหนักของผ้าได้เยอะพอสมควรครับ แต่ก็ต้องคำนึงด้วยว่า จักรท่านเป็นแบบ ลดโต๊ะ หรือ แบบพื้นราบ ถ้าจักรท่านเป็นแบบ ลดโต๊ะ ซึ่งแน่นอนอยู่แล้ว ว่าจะต้องมีแขนยื่นออกมาเพื่อที่จะยึดจับสดึง ซึ่งถ้าน้ำหนักผ้าเยอะๆ และปักด้วยความเร็ว จะมีผลต่องานที่ปักออกมาครับ ถ้าจักรท่านเป็นพื้นราบ ซึ่งไม่มีแขนจับสดึง โอกาศที่ลายปักจะเคลื่อนก็มีน้อยกว่าลดโต๊ะครับ เว้นแต่คลิปล็อคสดึงหลวม และยังมีอีกหลายปัจจัย ที่ยังไม่ได้เอ่ยครับ
ร้าน นกยูงจักรปัก
อ.นาเชือก จ.มหาสารคาม
Tel 0852962464
ID nokyong1921
 
สมาชิกดังต่อไปนี้ให้คำขอบคุณที่โพสของคุณ:

krucha, seree_c, suraida, PoyCW16A

ออฟไลน์ Kriangkraiw

  • คหบดี
  • ******
  • กระทู้: 1,009
  • สมาชิก No: 8
  • รับคำขอบคุณ: 3822 ครั้ง
  • มีส่วนร่วม:
    0%
  • พลังใจ: 113
  • ยินดีให้คำปรึกษาเกี่ยวกับงานปักทุกเรื่องครับ
    • www.SKTthai.com
  • โปรแกรมตีลาย: Wilcom, PE-Design
  • จักรปัก: SWF, Brother, RiCOMA, KANZEN
Re: น้ำหนักกับสดึง
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: 27 ตุลาคม 2560 เวลา 12:26:35 น. »
ให้ตอบเป็นตัวเลขคงไม่ได้ครับ เพราะไม่ได้มีการทดสอบเอาไว้
แต่เท่าที่ใช้งานมา ชุดหมีหนักๆ ก็ยังสามารถปักได้ครับ
หรือถ้าของชิ้นใหญ่ ก็หาโต๊ะมาประคองน้ำหนักเอาไว้ ก็ช่วยรับน้ำหนัก ผ่อนแรงเฟรมไปได้ครับ

ถามคำถามกว้างๆ เลยไม่รู้จะตอบยังไง
เอาเป็นว่า ท่านต้องทำงานอะไรครับ
จะปักบนชิ้นงานอะไร ที่ทำให้ท่านเป็นกังวล
ใช้เครื่องปักแบบไหน
จะได้มีข้อมูลในการตอบคำถามให้ได้เจาะจงขึ้นครับ

เกรียงไกร
สวัสดีครับคุณ ผู้เยี่ยมชม


เครื่องปักคอมพิวเตอร์ SWF Brother RiCOMA
เครื่องพิมพ์เสื้อ Brother GTX
เครื่องทำบล๊อกสกรีน RISO
ไหมปัก Bright

บริการด้วยใจ...ที่เป็นหนึ่ง
คุณไม่สามารถมองเห็นข้อความ/ภาพ/ลิ๊งส์นี้ได้ กรุณาลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
คุณไม่สามารถมองเห็นข้อความ/ภาพ/ลิ๊งส์นี้ได้ กรุณาลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
 
สมาชิกดังต่อไปนี้ให้คำขอบคุณที่โพสของคุณ:

krucha, seree_c, nokyong1921, suraida, PoyCW16A

ออฟไลน์ Ple

  • สามัญชน
  • *
  • กระทู้: 348
  • สมาชิก No: 440
  • รับคำขอบคุณ: 1053 ครั้ง
  • มีส่วนร่วม:
    0%
  • พลังใจ: 12
  • เพศ: ชาย
  • มิตรภาพและการแบ่งปัน
  • โปรแกรมตีลาย: windaisy
  • จักรปัก: ZSK
  • โปรแกรมอื่น?: ไม่มี
Re: น้ำหนักกับสดึง
« ตอบกลับ #3 เมื่อ: 8 พฤศจิกายน 2560 เวลา 05:39:56 น. »
คุณไม่สามารถมองเห็นข้อความ/ภาพ/ลิ๊งส์นี้ได้ กรุณาลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
เท่าที่รู้ stepping motor จักรปักรับได้ 30 กิโลครับ  servo ยังไม่เคยถามฃ่างทางโรงงาน                     
 
สมาชิกดังต่อไปนี้ให้คำขอบคุณที่โพสของคุณ:

seree_c